จังหวัดศรีสะเกษ - ประวัติความเป็นมาจ.ศรีสะเกษ - สถานที่ท่องเที่ยวศรีสะเกษ

จังหวัดศรีสะเกษ - ประวัติความเป็นมาจ.ศรีสะเกษ - สถานที่ท่องเที่ยวศรีสะเกษ

 

     คำขวัญจังหวัดศรีสะเกษ “หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม ข้าว หอมกระเทียมเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี”

 

ข้อมูลทั่วไปของ จังหวัดศรีสะเกษ

  • จังหวัดศรีสะเกษ เป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ที่มีพื้นที่อยู่ทาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนล่าง
  • จังหวัดศรีสะเกษ นับได้ว่าเป็นจังหวัด ที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 21 ของประเทศไทย โดยศรีสะเกษ มีพื้นที่ทั้งหมด รวมกันได้มากกว่า 8,839.98 ตารางกิโลเมตร
  • จังหวัดศรีสะเกษ นับว่าเป็นจังหวัดที่มีอารยธรรม ที่ทรงคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ มาตั้งแต่สมัยโบราณ ก่อนประวัติศาสตร์ จนกระทั่งถึง สมัยที่ขอมเรืองอำนาจ ได้ขยายอิทธิพลและ ได้ทิ้งมรดก ทางวัฒนธรรม ไว้อย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ปราสาทหิน ปรางค์กู่ ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดล้วนแล้ว แต่เป็นศิลปะเขมร เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ทั้งสิ้น
  • อาณาเขตของ จังหวัดศรีสะเกษ
    • ทิศเหนือ จรดกับ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดยโสธร
    • ทิศใต้ จรดกับ ประเทศกัมพูชา มีเพียงเทือกเขาดงรัก เป็นพรมแดนกั้นเท่านั้น
    • ทิศตะวันออก จรดกับ จังหวัดอุบลราชธานี
    • ทิศตะวันตก จรดกับ จังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดสุรินทร์

 

สถานที่ท่องเที่ยว ที่สำคัญของจังหวัดศรีสะเกษ

  • อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร
  • ปราสาทเขาพระวิหาร
  • ผามออีแดง
  • สวนสมเด็จศรีนครินทร์
  • พระธาตุเรืองรอง เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่พุทธศานิกชนให้ความเคารพสักการะ
  • สวนสัตว์ศรีสะเกษ
  • บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง

 

     ประเพณีแห่ ผีตาโขน ทางการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ได้ให้ความสำคัญ และส่งเสริมให้เป็น เทศการแห่งการท่องเที่ยว ของจังหวัดเลย โดยประเพณีแห่ผีตาโขน นับได้ว่าเป็นงานบุญ ประเพณีใหญ่ ชาวพื้นบ้านจะเรียก ประเพณีแห่ผีตาโขนนี้ว่า “บุญผะเหวด” หรือ “งานบุญหลวง”  ซึ่งชาวอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

อ่านต่อ..

จังหวัดศรีสะเกษ - ประวัติความเป็นมาจ.ศรีสะเกษ - สถานที่ท่องเที่ยวศรีสะเกษ

อุทยานแห่งชาติภูเรือ

อุทยานแห่งชาติภูเรือ ถือได้ว่าเป็น สถานที่ท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัดเลย อุทยานแห่งชาติภูเรือ เป็นพื้นที่ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ ทำให้มีอากาศที่หนาวเย็น ตลอดทั้งปี ยิ่งถ้าเป็นช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิจะติดลบ จนทำให้น้ำค้างบนยอดหญ้า เกิดการแข็งตัวเป็นน้ำแข็ง ที่เรียกกันว่า “แม่คะนิ้ง” จนทำให้สถานที่แห่งนี้ ได้รับสมญานามว่า “สุดยอดความหนาวในสยาม”

อ่านต่อ...